ป้ายกำกับ:
เกร็ดความรู้,
ช่างทิป,
ช่างมันส์,
เทคนิค,
สีทาบ้าน
เพราะเมืองไทยเป็น “เมืองร้อน” ยิ่งเข้าเดือนมีนาคม เมษายน หน้าร้อนยิ่งทำให้ร้อนปรอทแตก ซึ่งวิธีการแก้ปัญหาในหาเรื่องความร้อนสำหรับคนเมือง คงหลีกเลี่ยงไม่พ้นการใช้ “เครื่องปรับอากาศ” หรือ “แอร์”
เครื่องปรับอากาศนั้น มีหลักการทั่วๆไปคือการนำอากาศร้อนจากที่หนึ่ง ไปถ่ายออกอีกที่หนึ่ง โดยผ่านกระบวนการทำให้อากาศ นั้นเย็นโดยการพ่นอากาศ หรือลม ผ่านการใช้น้ำเย็น หรือถ้าเป็นในเครื่องปรับอากาศภายในบ้านนั้นก็ใช้น้ำยากทำความเย็น หรือที่เรา เรียกกันติดปากว่าน้ำยาแอร์นั่นเอง
ซึ่งในกระบวนการเปลี่ยนอากาศร้อน เป็นอากาศเย็นนั้น สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คือการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งถ้าเรายิ่งใช้เครื่องปรับอากาศมาก เช่นใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือปรับอุณหภูมิให้แย็นมากๆ ก็จะยิ่งใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และทำให้ค่าไฟในช่วงฤดูร้อนนั้นพุ่งขึ้นสูงมากทีเดียว ดังนั้น การเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศเบื้องต้น จะให้ให้เราสามารถ เย็นสบาย และก็ยังสบายกระเป๋าได้ด้วย
เริ่มแรก เลยเราต้องทำความรู้จักชนิดของเครื่องปรับอากาศที่ใช้ภายในบ้านเสียก่อน เครื่องปรับอากาศถ้าเป็นรุ่นใหม่ๆ จะมีระบบการปรับการทำงานของมอเตอร์อัตโนมัติ ทำให้มอเตอร์ไม่ต้องทำงานตลอดเวลา และติดๆดับๆ ซึ่งนอกจากจะช่วยทำให้อุณหภูมิภายในห้องเย็นสม่ำเสมอแล้ว เรื่องค่าไฟก็จะประหยัดลงมาก ระบบนี้มีชื่อเรียกว่า อินเวอร์เตอร์ ซึ่งราคาในปัจจุบันก็ลดลงมามากแล้ว โดยทั่วไปแอร์ภายในบ้านมีอายุใช้งานราว 15 ปี ดังนั้นหากแอร์มีอายุการใช้งานมาก ก็อาจพิจารณาเปลี่ยนมาใช้รุ่นที่ใหม่กว่า เพื่อประหยัดค่าไฟและค่าบำรุงรักษาได้
เครื่องปรับอากาศนั้น มีหลักการทั่วๆไปคือการนำอากาศร้อนจากที่หนึ่ง ไปถ่ายออกอีกที่หนึ่ง โดยผ่านกระบวนการทำให้อากาศ นั้นเย็นโดยการพ่นอากาศ หรือลม ผ่านการใช้น้ำเย็น หรือถ้าเป็นในเครื่องปรับอากาศภายในบ้านนั้นก็ใช้น้ำยากทำความเย็น หรือที่เรา เรียกกันติดปากว่าน้ำยาแอร์นั่นเอง
ซึ่งในกระบวนการเปลี่ยนอากาศร้อน เป็นอากาศเย็นนั้น สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้คือการใช้พลังงานไฟฟ้า ซึ่งถ้าเรายิ่งใช้เครื่องปรับอากาศมาก เช่นใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือปรับอุณหภูมิให้แย็นมากๆ ก็จะยิ่งใช้พลังงานไฟฟ้ามาก และทำให้ค่าไฟในช่วงฤดูร้อนนั้นพุ่งขึ้นสูงมากทีเดียว ดังนั้น การเรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับเครื่องปรับอากาศเบื้องต้น จะให้ให้เราสามารถ เย็นสบาย และก็ยังสบายกระเป๋าได้ด้วย
เริ่มแรก เลยเราต้องทำความรู้จักชนิดของเครื่องปรับอากาศที่ใช้ภายในบ้านเสียก่อน เครื่องปรับอากาศถ้าเป็นรุ่นใหม่ๆ จะมีระบบการปรับการทำงานของมอเตอร์อัตโนมัติ ทำให้มอเตอร์ไม่ต้องทำงานตลอดเวลา และติดๆดับๆ ซึ่งนอกจากจะช่วยทำให้อุณหภูมิภายในห้องเย็นสม่ำเสมอแล้ว เรื่องค่าไฟก็จะประหยัดลงมาก ระบบนี้มีชื่อเรียกว่า อินเวอร์เตอร์ ซึ่งราคาในปัจจุบันก็ลดลงมามากแล้ว โดยทั่วไปแอร์ภายในบ้านมีอายุใช้งานราว 15 ปี ดังนั้นหากแอร์มีอายุการใช้งานมาก ก็อาจพิจารณาเปลี่ยนมาใช้รุ่นที่ใหม่กว่า เพื่อประหยัดค่าไฟและค่าบำรุงรักษาได้
มาร์คัส ฉู บอกกับหนังสือพิมพ์สเตรทส์ ไทม์ส ว่า เมื่อ 10 กว่าปีก่อน เขาเคยคิดว่าวิศวกรเป็นอาชีพที่น่าสนใจมาก แต่พอเรียนจบและได้ทำงานด้านนี้จริงๆ ราว 4 ปี ก็พบว่า ความเจิดจรัสของอาชีพก็หายไป เพราะไม่ว่าเขาจะทำงานหนักแค่ไหน ก็จะได้ปรับเงินเดือนแค่ปีละ 50 ดอลลาร์สิงคโปร์ สุดท้ายจึงทิ้งอาชีพในดวงใจมาเป็นข้าราชการดูแลการรับรองคุณภาพการฝึกอบรมในปัจจุบัน ซึ่งคล้ายๆกับเพื่อนๆวิศวกรของเราอีกราวๆ ครึ่งหนึ่งหันไปประกอบอาชีพอื่นเหมือนกัน
ป้ายกำกับ:
ประชาคม,
วิถีอาเซียน,
วิศวกร,
อาเซียน
กั้นแยกพื้นที่ (Compartmentation) ของอาคารเพื่อลดความเสียหายในการเกิดไฟไหม้ โดย คุณสุเมธ เกียรติเมธา ตอนที่ 2
เขียนโดย ช่างมันส์
ต่อเนื่องจากตอนที่แล้ว ในเรื่องการป้องกันอัคคีภัยหรือการป้องกันไฟและควันลาม โดยเฉพาะใน "เชิงรับ" (Passive fire protection) จะพูดถึง “ควัน” เพื่อให้ความรู้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับอาคารทุกๆ อาคาร รวมถึงผู้ใช้อาคารเช่นกัน
เนื่องจากเหตุการณ์ที่ผ่านมาในอดีตนั้นแท้จริงแล้ว การสูญเสียโดยเฉพาะชีวิตของผู้ที่ใช้อาคารที่เกิดเพลิงไหม้นั้นมาจาก “ควัน” เสียเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากเวลาเกิดเหตุเพลิงไหม้นั้น การลามของไฟ และควันต่างกันคือ ไฟจะลามไปตามวัสดุหรือเชื้อเพลิงที่สามารถติดไฟได้โดยใช้องค์ประกอบ 3 ส่วน คือ
1. เชื้อเพลิง
2. พลังงานความร้อน (ตัวเริ่มปฏิกิริยา)
3. ออกซิเจน (ปริมาณก๊าซออกซิเจนที่ 15% จะไม่สามารถจุดติดไฟได้ แต่ถ้าปริมาณก๊าซออกซิเจนที่ 26% อัตราการเผาไหม้จะเพิ่มเป็น 2 เท่าของสภาพปกติ, ออกซิเจน 21%) คือควันสามารถลามไปได้ทุกที่โดยใช้ช่องว่างหรือช่องเปิดของอาคาร เช่น ช่องวางใต้บานประตู ท่อปรับอาคกาศ ช่องวางรอยต่อผนังใต้ท้อง พื้น คาน ช่องเปิดเพื่อให้ท่อน้ำดื่มน้ำใช้ที่เจาะผ่านพื้นแต่ละชั้น ทางเดินภายในอาคาร เป็นต้น
เนื่องจากเหตุการณ์ที่ผ่านมาในอดีตนั้นแท้จริงแล้ว การสูญเสียโดยเฉพาะชีวิตของผู้ที่ใช้อาคารที่เกิดเพลิงไหม้นั้นมาจาก “ควัน” เสียเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากเวลาเกิดเหตุเพลิงไหม้นั้น การลามของไฟ และควันต่างกันคือ ไฟจะลามไปตามวัสดุหรือเชื้อเพลิงที่สามารถติดไฟได้โดยใช้องค์ประกอบ 3 ส่วน คือ
1. เชื้อเพลิง
2. พลังงานความร้อน (ตัวเริ่มปฏิกิริยา)
3. ออกซิเจน (ปริมาณก๊าซออกซิเจนที่ 15% จะไม่สามารถจุดติดไฟได้ แต่ถ้าปริมาณก๊าซออกซิเจนที่ 26% อัตราการเผาไหม้จะเพิ่มเป็น 2 เท่าของสภาพปกติ, ออกซิเจน 21%) คือควันสามารถลามไปได้ทุกที่โดยใช้ช่องว่างหรือช่องเปิดของอาคาร เช่น ช่องวางใต้บานประตู ท่อปรับอาคกาศ ช่องวางรอยต่อผนังใต้ท้อง พื้น คาน ช่องเปิดเพื่อให้ท่อน้ำดื่มน้ำใช้ที่เจาะผ่านพื้นแต่ละชั้น ทางเดินภายในอาคาร เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)